7 สมุนไพรพื้นบ้าน“ต้านเบาหวาน”ตามภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านพร้อมวิธีการใช้

7สมุนไพรพื้นบ้าน“ต้านเบาหวาน”ตามภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านพร้อมวิธีการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านในการรักษาด้วยสมุนไพรนั่นคือการรักษาโรคเบาหวานก่อนอื่นเราต้องมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับอาการของโรคเบาหวานโรคเบาหวานเป็นโรคที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลอยู่ในเลือดสูงโดยร่างกายไม่สามารถที่จะเปลี่ยนน้ำตาลไปเป็นพลังงานไปใช้ได้และในสภาวะปัจจุบันมีจำนวนประชากรที่ป่วยด้วยโรคนี้ถึง425ล้านคนซึ่งเป็นตัวเลขที่ค่อนข้างสูง

และคาดว่าจะมีเพิ่มขึ้นถึงเป็น629ล้านคนกันเลยทีเดียวทำให้โรคเบาหวานกลายเป็นโรคร้ายที่สำคัญดังนั้นเรามาทำความรู้จักกับโรคเบาหวานนั้นมีทั้งหมด3ประเภทประเภทที่1คือโรคเบาหวานที่เกิดจากร่างกายไม่สามารถนำอินซูลินมาใช้ได้ตามปกติ ประเภทที่2คือโรคเบาหวานที่เกิดจากตับอ่อนสร้างอินซูลินได้น้อยทำให้ร่างกายไม่สามารถใช้มีอินซูลินในการดูแลน้ำตาลในเลือดได้ประเภทที่3คือโรคเบาหวานที่อาจเกิดได้กับผู้ที่ตั้งครรภ์ประมาณ24สัปดาห์ขึ้นไปดูแลเกี่ยวกับการลดน้ำตาลในเลือดนั่นคือการใช้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวันของเราเช่น

การใช้ชะพลูการใช้ตำลึงการใช้ลูกซัดหรือการใช้ว่านหางจระเข้ในการลดน้ำตาลในเลือดแต่ทว่าวิธีการใช้พืชสมุนไพรแต่ละชนิดก็จะมีวิธีที่แตกต่างกันไปตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรที่ให้ความหวานแทนน้ำตาลอีกทั้งยังช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเลือดได้นั่นคือหญ้าหวาน ซึ่งช่วยในการเพิ่มความหวานให้กับอาหาร ทำให้รู้สึกว่าอาหารที่มีรสชาติตามที่ต้องการมากขึ้นในปัจจุบันผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถที่จะรักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันแต่การดูแลและควบคุมระดับน้ำตาลจำเป็นต้องใช้ผักพื้นบ้านในการปรุงอาหารและที่สำคัญก็คือผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสชาติหวานจัดเค็มจัดมันจัดควบคู่กับการออกกำลังกายแล้วจะทำให้มีสุขภาพที่ดีขึ้นห่างไกลจากโรคเบาหวาน

วิธีใช้สมุนไพร1ช้าพลูให้เอาต้นช้าพลูทั้งห้าหมายถึงใช้ทั้งต้นรวมรากด้วยนำมา1กำมือให้พับเถาช้าพลูเป็น3ทบให้ตอกไม้ไผ่มัดเป็น3เปลาะนำไปใส่หม้อต้มกับน้ำ 3 ขัน ต้มเคี่ยวให้เหลือน้ำ1ขันดื่มครั้งละครึ่งแก้วก่อนอาหาร วันละ3เวลาวิธีนี้มีผู้ใช้ช่วยแก้อาการเบาหวานได้2มะระขี้นกให้สมกับตำลึงขึ้นได้ทั่วไปคือให้กินพร้อมมื้ออาหรให้ได้วันละ1กำมือหรือจะใช้วิธีตามตำรานำยอดตำลึง1กำมือปรุงรสด้วยการใส่เกลือหรือน้ำปลาเล็กน้อย

เพื่อให้กินอร่อยขึ้นแล้วนำไปห่อด้วยใบตองเอาไปเผาไฟให้สุกกินให้หมดให้กินก่อนนอนติดต่อกัน3เดือน3กะเพรามีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหลายชนิด ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันต้านความเครียดแก้หืดต้านอักเสบ แก้ไข้แก้ปวดและมีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดด้วยในใบกะเพรามีน้ำมันหอมระเหยและพฤกษเคมีหลายชนิดนักวิจัยพบว่าช่วยทำให้ตับอ่อนผลิตและหลั่งอินซูลลินได้ดีขึ้น4เตยหอมถ้าว่ากันตามตำราใช้รากเตยหอม1ขีดสับเป็นท่อนเล็กๆใส่น้ำประมาณ1ลิตรต้มให้เดือดแล้วหรี่ไฟลงเคี่ยวต่อไป15-20นาทีดื่มครั้งละครึ่งแก้ววันละ3เวลาเวลาต้มจะปรุงแต่งใส่ใบเตยหอมให้มีสีสันและเพิ่มกลิ่นหอมให้ชวนดื่มก็ได้

5ว่านหางจระเข้ให้ตัดกาบใบว่านหางจระเข้ที่ปลูกมาอย่างน้อย1ปีนำมาล้างน้ำให้สะอาดปอกเปลือกออกจะได้เนื้อวุ้นใสๆให้รับประทานวันละ15กรัมทุกวันติดต่อกันอย่างน้อย4สัปดาห์ควรกินเนื้อวุ้นสดๆเนื่องจากมีการศึกษาพบว่าเนื้อวุ้นที่เก็บไว้จะมีสรรพคุณลดลงอย่างรวดเร็ว6ต้นอบเชยที่คนไทยรู้จักกันดีและนำมาใช้ปรุงยาหรือใช้ปรุงอาหารมักจะเป็นอบเชยจีนเพราะมีกลิ่นหอมเปลือกมีความบางแต่ถ้าหาอบเชยจีนไม่ได้จะใช้อบเชยไทยอบเชยญวนและอบเชยอื่นๆแทนก็ได้

ให้กินผงอบเชยจีนครั้งละครึ่งช้อนชาวันละ2เวลาเช้าและเย็นโดยอาจผสมผงอบเชยจีนในเครื่องดื่มนมโกโก้โยเกิร์ตก็ได้หรือบรรจุผงอบเชยจีนในแคปซูลควรรับประทานติดต่อกันอย่างน้อย20วันจึงจะเห็นผล7ตำลึงให้สมกับตำลึงขึ้นได้ทั่วไปคือให้กินพร้อมมื้ออาหรให้ได้วันละ1กำมือหรือจะใช้วิธีตามตำรานำยอดตำลึง1กำมือปรุงรสด้วยการใส่เกลือหรือน้ำปลาเล็กน้อยเพื่อให้กินอร่อยขึ้นแล้วนำไปห่อด้วยใบตองเอาไปเผาไฟให้สุกกินให้หมดให้กินก่อนนอนติดต่อกัน3เดือน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *